- กล้ามท้อง หรือที่เรีัยกทับศัพท์กันว่า ซิกแพค (six pack abs) เป็นกล้ามเนื้อส่วนที่ดึงดูดใจผู้หญิงได้มากที่สุดแล้ว ถึงขั้นที่ว่าดาราวัยรุ่นชายในปัจจุบันแทบทุกคนจำเป็นต้องฟิตร่างกายให้มีซิกแพคกันเลยทีเดียว ไม่อย่างนั้นหากต้องถอดเสื้อขึ้นปกนิตยสารไปก็อายคนอื่นเขา อย่างไรก็ตามต้องยอมรับว่าซิกแพค เป็นกล้ามที่ทำให้ปรากฎเด่นเห็นชัดยากที่สุด เนื้อจากบริเวณหน้าท้องเป็นที่สะสมของไขมันจำนวนมากอยู่แล้ว แม้กระทั่งคนผอมหลายคนก็ยังลงพุง ดังนั้นการบริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งในการสร้างซิพแพคให้ใหญ่โตขึ้นมา แต่ถ้าไขมันหน้าท้องยังเยอะอยู่ ถึงกล้ามซิกแพคจะใหญ่ แต่ไขมันที่ยังคลุมอยู่ก็ทำให้มองไม่เห็นซิกแพค ด้วยเหตุนี้การจะทำใหญ่กล้ามท้องซิกแพคเห็นชัด คุณจะต้องบริการกล้ามท้องให้ใหญ่ และออกกำลังกายเผาผลาญไขมันให้หมดไป […]
- ยกดัมเบลบริหารกล้ามแขนหน้า ด้วยท่า Alternate Hammer Curl: ในสมัยเด็ก ๆ เวลาพูดคำว่าเบ่งกล้ามโชว์ เรามักจะนึกถึงกล้ามแขนเป็นอันดับแรก เพราะแขนเป็นอวัยวะสำคัญที่ใช้ในการแสดงพละกำลังในการเล่นกีฬาหลายประเภท ดังนั้นเด็กจึงรู้สึกปลาบปลื้มกับกล้ามแขนที่ใหญ่โตมากกว่าส่วนอื่น ๆ เมื่อโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่แล้ว กล้ามแขนก็ยังคงความสำคัญ โดยเฉพาะนักเล่นเวทที่ต้องการโชว์กล้ามเนื้อตัวเองที่เฝ้าออกกำลังกายมานับแรมปีให้ผู้อื่นได้ชมนั้น เมื่อสวมเสื้อแขนสั้นทั่วไปที่ไม่ได้รัดรูป กล้ามส่วนอื่นจะถูกซ่อนเร้น แต่กล้ามแขนยังเห็นได้ชัดเจน และนี่คือเหตุผลที่หลายคนให้ความสำคัญกับกล้ามแขนมาเป็นอันดับแรก กล้ามแขนนั้นจะมีอยู่ 2 ส่วน คือ แขนส่วนหน้า (Bicep) […]
- ยกเวทสร้างกล้ามไหล่ด้วยดัมเบล ในท่า Arnold Dumbbell Press: สำหรับชายหนุ่มที่ต้องการยกเวทสร้างกล้ามเนื้อบริเวณไหล่ให้ใหญ่และแข็งแรงขึ้น เราขอแนะนำท่ายกเวท อาร์โนล์ด ดัมเบล เพรส (Arnold Dumbbell Press)
- สร้างกล้ามคอด้วยแผ่นน้ำหนักดัมเบล: ผู้ที่ปรารถนาจะมีรูปร่างดีนั้น จำเป็นที่จะต้องใส่ใจในความสมส่วนของร่างกาย ซึ่งกล้ามคอก็เป็นอีกส่วนที่ไม่ควรละเลย เพราะหากคุณมีไหล่โต กล้ามแขนใหญ่ แต่คอเล็ก ก็จะทำให้รูปร่างดูแปลก
- บุหรี่ไฟฟ้าถูกห้ามขายให้กับเยาวชนในอังกฤษ: รัฐบาลอังกฤษได้ประกาศห้ามจำหน่ายบุหรี่ไฟฟ้า (electronic cigarettes) ให้กับประชาชนที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญจะกล่าวว่า ยังไม่อาจทราบแน่ชัดถึงอันตรายของบุหรี่อิเลคทรอนิกส์
- อวัยวะเพศกำกวม: นรีแพทย์ควรทำความเข้าใจกับอวัยวะเพศกำกวม และการจัดการอย่างเหมาะสมต่อปัญหานี้ การเจิรญเปลี่ยนแปลงทางเพศปกติ Normal sexual differentiation การกำหนดเพศขึ้นกับองค์ประกอบหลายอย่าง กล่าวคือ 1. เพศโดยโครโมโซม (genetic sex) โครโมโซมเพศ (sex chromosome) เป็นตัวกำหนดเพศที่สำคัญ โครโมโซมเพศมี 2 ชนิดคือ [...]
- เนื้องอกรังไข่ในเด็กและหญิงวัยรุ่นสาว: เนื้องอกรังไข่ในเด็กและหญิงวัยรุ่นสาว เนื้องอกรังไข่ชนิดร้ายและไม่ร้ายจะพบในหญิงวัยเจริญพันธุ์เป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม สามารถพบในเด็กและหญิงวัยรุ่นสาวได้เช่นกัน ยกเว้นเนื้องอกรังไข่ชนิด Brenner ไม่มีในรายงานว่าพบในหญิงวัยรุ่นสาวที่อายุน้อยกว่า 16 ปีเลย สำหรับเนื้องอกรังไข่ในเด็กและหญิงวัยรุ่นสาวร้อยละ 30 เป็นเนื้องอกชนิด dermoids
- การข่มขืน: ปัจจุบันปัญหาเรื่องการข่มขืนเป็นอาชญากรรมที่พบบ่อยอย่างหนึ่ง พบเป็นข่าวบนหน้าหนังสือพิมพ์อยู่เสมอ และอยู่ในความสนใจของสังคมอย่างมาก อุบัติการของการข่มขืนไม่มีตัวเลขยืนยันที่แน่นอน เชื่อว่าตัวเลขที่บันทึกอย่างเป็นทางการต่ำกว่าความเป็นจริงหลายเท่าตัว ทั้งนี้เพราะผู้ถูกข่มขืนมักอับอายและกลัวว่าสังคมรับรู้ หรือถูกข่มขู่จากผู้ทำการข่มขืนว่าจะทำร้ายถ้าบอกให้ผู้อื่นทราบ ดังนั้นผู้ถูกข่มขืนส่วนใหญ่มาพบแพทย์เฉพาะผู้ที่ได้รับบาดเจ็บมาก หรือมาตรวจเพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินคดี บางรายมาพบแพทย์เนื่องจากกลัวจะตั้งครรภ์หรือตั้งครรภ์แล้ว
- การบาดเจ็บบริเวณอวัยวะเพศในเด็ก: การบาดเจ็บบริเวณอวัยวะเพศในเด็กส่วนใหญ่เกิดจากการล้มทับบนวัตถุทั้งมีคมและไม่มีคม ส่วนการทำร้ายทางเพศพบได้ไม่บ่อย การบาดเจ็บมักไม่รุนแรง ส่วนน้อยเท่านั้นที่มีความรุนแรงจนอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต หรือต้องทำศัลยกรรมตบแต่ง
- การคุมกำเนิดในหญิงวัยรุ่นสาว: การคุมกำเนิดในหญิงวัยรุ่นสาว อัตราเพิ่มของการตั้งครรภ์ในหญิงวัยรุ่นสาว ระยะหลังเพิ่มขึ้นน้อยกว่าอัตราการมีเพศสัมพันธ์มาก ทั้งนี้เนื่องจากรู้จักวิธีคุมกำเนิดมากขึ้น การศึกษาในระหว่างปี พ.ศ.2516-2521 พบว่าอัตราการตั้งครรภ์ของหญิงที่อายุน้อยกว่า 20 ปี ลดลงร้อยละ 15 ทั้งนี้เนื่องจากมีการใช้วิธีคุมกำเนิดเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 35 ของหญิงกลุ่มนี้
- อาการร่วมก่อนมีระดู: อาการร่วมก่อนมีระดูมักเกิดก่อนมีระดูประมาณ 7-10 วัน และจะหายไปทันทีเมื่อมีระดู เชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับฮอร์โมนรังไข่ เนื่องจากเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนซึ่งเพิ่มขึ้นในช่วงหลังของรอบระดูทำให้มีการคั่งของเกลือโซเดียม เป็นผลให้มีน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น ดังนั้นร่างกายจึงบวมขึ้น บางรายอาจมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นถึง 12-16 ปอนด์ แต่เมื่อมีระดูแล้วน้ำหนักจะลดลงเป็นปกติภายใน 48 ชั่วโมง
- อาการปวดจากไข่ตก: เป็นอาการปวดที่สืบเนื่องมากจากการตกไข่ (ovulatory pain) ส่วนใหญ่พบในหญิงวัยรุ่นสาวอายุมากกว่า 16 ปี ความรุนแรงของอาการปวดมีตั้งแต่ปวดเล็กน้อยบริเวณท้องน้อยข้างหนึ่งข้างใดจนถึงปวดบีบอย่างมากคล้ายกับอาการปวดระดู ลักษณะเฉพาะของอาการปวดจากการตกไข่คือ เกิดในช่วงกลางของรอบระดู อาการปวดมักเป็นชั่วคราวและไม่รุนแรง จนหญิงวัยรุ่นสาวบางคนแทบไม่รู้สึก มีน้อยที่มาพบแพทย์ด้วยอาการปวดอย่างรุนแรงและปวดนานถึง 2-3 วัน
- อาการปวดระดูแบบทุติยภูมิ: อาการปวดระดูแบบทุติยภูมิ หญิงวัยรุ่นสาวที่มีประวัติเพศสัมพันธ์ควรเพาะเชื้อหนองในจากปากมดลูก ผู้ที่มีไข้ร่วมกับปวดท้องน้อยควรสงสัยว่ามีการติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ใส่ห่วงคุมกำเนิดมีความเสี่ยงสูงในการเกิดการติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ใส่ถึง 2-3 เท่า
- อาการปวดระดูแบบปฐมภูมิ: อาการปวดระดูแบบปฐมภูมิ Primary dysmenorrheal อาการปวดระดูในหญิงวัยรุ่นสาวส่วนใหญ่มักเป็นแบบปฐมภูมิคือ มีอาการแสดงแต่ไม่พบพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน เกิดจากความแปรปรวนเกี่ยวกับหน้าที่การทำงาน (functional disturbance) ส่วนอาการปวดระดูแบบทุติยภูมิเกิดจากความผิดปกติแต่กำเนิด หรือพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน ผู้ป่วยที่ปวดระดูแบบทุติยภูมิพบว่าเป็นภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกอยู่ผิดที่ (endometriosis ค่อนข้างบ่อย และพบในผู้ใหญ่มากกว่าหญิงวัยรุ่นสาว
- การติดเชื้อและเนื้องอกของเต้านม: การติดเชื้อและเนื้องอกของเต้านม การติดเชื้อของเต้านมมักเกิดในเด็กแรกเกิดมากกว่า มักเป็นภายหลังจากการผ่าตัดจากการตรวจ การบีบเต้านม ทำให้มีการติดเชื้อตามมา เนื้องอกเต้านม Tumors of the breast 1. เนื้องอกชนิดไม่ร้าย (benign tumors) พบในหญิงวัยรุ่นสาวมากกว่าในเด็ก เนื่องจากเด็กไม่มีเอสโตรเจนกระตุ้นเต้านม มีข้อควรระลึกถึงเสมอว่า ประมาณร้อยละ 3 ของหญิงวัยรุ่นสาวในช่วงใกล้มีระดูครั้งแรกอาจคลำก้อนกลมขนาดโตได้ถึง 0.5 [...]
- การบาดเจ็บของเต้านม: การบาดเจ็บของเต้านม สาเหตุที่พบบ่อยมี 3 อย่าง คือ 1. การเล่นกีฬา 2. อุบัติเหตุจากการสัญจร 3. การร่วมเพศ
- ความผิดปกติของเต้านมตั้งแต่กำเนิด: ความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดอาจเป็นข้างเดียวหรือทั้งสองข้างก็ได้ 1. เต้านมไม่มี (amastia) พบน้อย มักสัมพันธ์กับความผิดปกติของผนังทรวงอก เช่น ไม่มีกล้ามเนื้อ pectoris หรือมีความบกพร่องของกระดูกซี่โครง
ค้นหา
หมวดหมู่บทความ
10 บทความสุขภาพ (ล่าสุด)
- ใช้ Fight-or-flight response สร้างความสำเร็จ
- วิธีขจัดความกลัว
- มนุษย์เริ่มแปรงฟันทุกวันเมื่อไร
- วิธีคิดให้ใส่ใจดูแลรักษาสุขภาพ
- เมื่อเจอกับความทุกข์ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ จงเปลี่ยนแปลงตัวเอง
- การทดลองความอดทนต่อความเจ็บ
- อย่ากลัวเสียเวลา เพราะทุกสิ่งที่ทำย่อมเกิดผล
- หยุดความกลัวที่จะลงมือทำ Just Do It
- สอนเด็กให้รู้จักแบ่งปัน ยิ่งให้ยิ่งได้รับ
- 8 อุปนิสัยควรหลีกเลี่ยง เพื่อชะลอริ้วรอยก่อนวัย
- View all