[x] ปิดหน้าต่างนี้
 




 
 เศรษฐกิจพอเพียง 1.โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย การศึกษาต่อเนื่อง 1 นโยบายด้านการศึกษานอกระบบ ข้อ ๑.4 การศึกษาต่อเนื่อง ( ข้อ 3 ) 3. หลักการและเหตุผล ตามนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้การจัดการการศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชน ในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ เป็นการพัฒนาประเทศ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรมในการคิด วิเคราะห์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการขจัดความยากจน และลดความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ ของคนในชุมชน และเป็นพื้นฐานของการสร้างพลังอำนาจของชุมชน และการพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อเป็นฐานรากของการพัฒนาประเทศต่อไป โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เป็นโครงการหนึ่ง ที่เน้นให้บุคคลและครอบครัวตลอดจนผู้ร่วมงาน อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขทั้งทางกายและทางใจ พึ่งพาตนเองอย่างเต็มความสามารถ ไม่ทำอะไรเกินตัว โดยการสร้างองค์ความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชน กศน.ตำบลในควน ในสังกัด กศน.อำเภอย่านตาขาว ได้ตระหนักเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้ประชาชนมีทักษาในการดำรงชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เพื่อมุ่งพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ส่งเสริมอาชีพกับชุมชนให้ประชาชนมีรายได้และลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว 3 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต 5. เป้าหมาย 5.1 เป้าหมายด้านปริมาณ กลุ่มเป้าหมายการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยกระบวนการการศึกษานอกโรงเรียน จำนวน ๑00 คน 5.2 เป้าหมายด้านคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6.วิธีดำเนินการ 1. ประชุมชี้แจง 2. สำรวจข้อมูล 3. วิเคราะห์ข้อมูล 4. วางแผนการดำเนินงาน ปฏิบัติงาน 5. ดำเนินการให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงาน 6. ติดตาม ประเมินผล 7. สรุปผลโครงการ รายงานผลการดำเนินงาน 7.ผู้รับผิดชอบโครงการ นางทิพา เส้งชาว ครู กศน.ตำบลในควน นางสาวเฉลิมรัตน์ ชูทอง ครู อาสาฯ นางอรทัย คงสิน ครู 8.เครือข่าย ๑ อบต.ตำบลในควน ๒ โรงเรียนในอำเภอย่านตาขาว ๓ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนสถานประกอบการในพื้นที่ตำบลในควน ๙.โครงการที่เกี่ยวข้อง - โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 10.ผลลัพธ์ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีคุณภาพ 11. ตัวชี้วัดความความสำเร็จ ผลผลิต ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจบหลักสูตร ร้อยละ 80 ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 12. นิเทศติดตามผล โดยวิธี - สังเกต - แบบสอบถาม - สัมภาษณ์ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในควนน่าอยู่ ครั้งที่ 1 วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ณ ศาลากลางบ้าน หมู่ที่ 7 บ้านในควน ตำบลในควน อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในควนน่าอยู่ ครั้งที่ 1 วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ณ หมู่ที่ 7 บ้านในควน ตำบลในควน อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง โครงการอบรมให้ความรู้จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านโคกมะม่วง หมู่ที่ 8 ตำบลเกาะเปียะ อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง กศน.อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านโคกมะม่วง หมู่ที่ 4 ตำบลเกาะเปียะ อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง กศน.อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง กศน.ตำบลในควนได้นำนักศึกษาเข้าร่วม โครงการให้ความรู้เรืองปรัชญา เศรษฐกิจพอพียงในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 มีผู้เข้ร่วมโครงการ จำนวน 107 คน ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านโคกมะม่วง โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 18 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านโคกมะม่วง หมู่ที่ 4 ตำบลเกาะเปียะ อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง กศน.อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง กศน.ตำบลในควนได้นำนักศึกษาเข้าร่วม โครงการให้ความรู้เรืองปรัชญาเศรษฐกิจพอพียงวันที่ 18 – 19 มิถุนายน 2558 มีผู้เข้ร่วมโครงการ จำนวน 20 คน ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านโคกมะม่วง โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 18 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านโคกมะม่วง หมู่ที่ 4 ตำบลเกาะเปียะ อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง กศน.อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง กศน.ตำบลในควนได้นำนักศึกษาเข้าร่วม โครงการให้ความรู้เรืองปรัชญา เศรษฐกิจพอพียง ในวันที่ 18 – 19 มิถุนายน 2558 มีผู้เข้ร่วมโครงการ จำนวน 20 คน ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านโคกมะม่วง สรุปแบบสอบถามการดำเนินงานการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโครงการเศรษฐกิจพอเพียง กศน. ตำบลในควน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.เพศ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ เพศชาย 51 43.96 เพศหญิง 65 56.04 รวม 116 100 สรุปจากตารางทั้งหมด ผู้ตอบแบบสอบถามเพศชาย จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 43.96 ผู้ตอบแบบสอบถามเพศหญิง จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 56.04 รวมผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 116 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.อายุ อายุ จำนวน ( คน ) ร้อยละ อายุต่ำกว่า 15 ปี - - อายุ 15 - 29 ปี 80 68.96 อายุ 30 - 44 ปี 23 19.82 อายุ 45 - 59 ปี 13 11.22 อายุ 60 ปี ขึ้นไป - - สรุปจากตารางทั้งหมด ผู้ตอบแบบสอบถามอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 15 -29 ปี จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 68.96 ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 30 -44 ปี จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 19.82 ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 45 -59 ปี จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 11.22 ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - 3. ระดับการศึกษา ระดับ จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา 4 3.44 มัธยมศึกษาตอนต้น 72 62.06 มัธยมศึกษาตอนปลาย 40 34.5 อื้นๆ - - สรุปจากตารางทั้งหมด ผู้ตอบแบบสอบถามประถมศึกษา จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.44 ผู้ตอบแบบสอบถามมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 62.06 ผู้ตอบแบบสอบถามมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 34.5 ผู้ตอบแบบสอบถามอื้นๆ จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ตอนที่ 2 ผลการดำเนินการจัดอบรม รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 1.การประชาสัมพันธ์โครงการ 77 66.37 33 28.44 6 5.19 - - 2.การรับลงทะเบียนจากเจ้าหน้าที่ 92 79.31 24 20.69 - - - - 3.วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรม 77 66.37 35 30.17 4 3.46 - - 4.วิทยากรมีการใช้สื่อที่สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรม 83 71.55 22 18.96 11 9.49 - - 5.ความสุภาพอ่อนโยนและความเอาใจใส่จากเจ้าหน้าที่ 97 83.62 13 11.19 6 5.19 - - 6.ผู้รับบริการสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ 78 67.24 33 28.44 5 4.32 - - 7.สื่อ/เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 69 59.48 40 34.48 7 6.04 - - 8.เทคนิคและกระบวนการในการจัดกิจกรรมของวิทยากร 92 79.31 24 20.69 - - 9.สถานที่ในการจัดกิจกรรมเหมาะสม 83 71.55 22 18.96 11 9.49 - - 10ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม 78 67.24 33 28.44 5 4.32 78 67.24 รวม 71.20 27.9 5.93 - - สรุปจากตารางทั้งหมด ผู้เข้าร่วมโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนมีระดับความพึงพอใจ ระดับดีมากร้อยละ 71.20ระดับดีร้อยละ 27.9ระดับพอใช้ร้อยละ 5.93

เข้าชม : 605
 
 
กศน.ตำบลในควน
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอย่านตาขาว
ที่อยู่ หมู่ที่ 3 บ้านพรุโต๊ะปุก ตำบลในควน อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง  เบอร์โทร 084-8502921
e-mail dukdik 8878@ hotmail.com

สล็อตเว็บตรง Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05