หลักสูตรการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
จำนวน 9 ชั่วโมง
กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
กศน.ตำบลกันตัง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันตัง
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตรัง
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
วิชาการเพาะเห็ดนางฟ้า จำนวน 9 ชั่วโมง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันตัง
กิจกรรม ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ( กลุ่มอาชีพการเกษตร )
ความเป็นมา
จากสภาพสังคม จังหวัดตรัง ในปัจจุบันได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ทรัพยากรมี น้อยลง จึงมีความจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีความคุ้มค่ายิ่งขึ้น โดยเฉพาะด้านการดำรงชีพ และชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน นอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพื่อเป็นการเลี้ยงตัวเองและครอบครัว แล้วยังมีสิ่งที่ถือว่าเป็นภาระหนักคืออาหารเพื่อบริโภคประจำวัน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มนุษย์เราจะต้องสร้างขึ้น หรือหามาทดแทนโดยวิธีการต่าง ๆ เพื่อการอยู่รอด การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของ ประเทศให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริม ความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน สำนักงาน กศน.จึงได้กำหนดหลักการในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทำไว้ว่า ต้องเป็นการดำเนินงานที่มีความยืดหยุ่นด้านหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล รวมทั้งเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ ตลอดจนมีความสามารถ เชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลิตสินค้า ทางการเกษตรสาหรับการบริโภคทั้งภายในชุมชน และส่งขายพื้นที่ใกล้เคียง ดังนั้นการจัดทำหลักสูตรอาชีพที่ เกี่ยวข้องกับสาขาการเกษตรจึงนับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง อาชีพการเพาะเห็ดฟาง เห็ดนางฟ้า-นางรม เป็น อาชีพหนึ่งที่น่าสนใจและน่าลงทุน เนื่องจากให้ผลผลิตเร็วมีการดูแลรักษาที่ไม่ยาก นอกจากนี้ให้ผลผลิตทาง การเกษตรซึ่งมีคุณค่าทางอาหารสูง สามารถบริโภคได้ทุกเพศทุกวัย ปัจจุบันมีการแปรรูปเป็นอาหาร หลากหลายรูปแบบ นิยมบริโภคกันในช่วงเทศกาลกินเจ และวิวัฒนาการทางการแพทย์มีการนาเห็ดฟาง เห็ด นางฟ้า-นางรม มาปรุงเป็นส่วนประกอบของยาสมุนไพร จึงมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพการเพาะเห็ดฟาง เห็ดนางฟ้า-นางรม หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในด้านการพัฒนาคน โดยเฉพาะหน่วยงานทางการศึกษาเกิดขึ้น มีหน้าที่จัดการศึกษาและส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความสนใจในการประกอบอาชีพเพาะเห็ดฟาง เห็ดนางฟ้านางรม เพิ่มขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นช่องทางในการประกอบอาชีพและเพื่อให้ประชาชนมีรายได้จากการเพาะเห็ดนางฟ้า
2. เพื่อส่งเสริมความรู้ และทักษะ ในการเพาะเห็ดนางฟ้าเพื่อประกอบเป็นอาชีพได้
กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชน กลุ่มสนใจในพื้นที่อำเภอกันตัง
ระยะเวลา
จำนวน 40 ชั่วโมง
สื่อ/วัสดุอุปกรณ์การเรียนรู้
1.ศึกษาจากวัสดุอุปกรณ์ในฝึกอบรม การเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
2.ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน/วิทยากร/ภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.ศึกษาจากอินเตอร์เน็ต
การวัดและประเมินผล
1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม
2.ผลงานจากการฝึกปฏิบัติ
เงื่อนไขการผ่านการฝึกอบรม
- เข้าเรียนอย่างน้อยร้อยละ 80
- สามารถปฏิบัติงานตามเกณฑ์ได้
หลักฐานการผ่านการอบรม
- วุฒิบัตร
โครงสร้างเนื้อหา
ที่
|
เรื่อง
|
จุดประสงค์การเรียนรู้
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
จำนวนชั่วโมง
|
ทฤษฏี
|
ปฏิบัติ
|
1.
|
ช่องทางการ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า
|
1.เพื่อให้ผู้เรียนบอก ความสำคัญในการ ประกอบอาชีพ
2.เพื่อให้ผู้เรียน สามารถวิเคราะห์ความ เป็นไปได้ในการ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า 3.เพื่อให้ผู้เรียนบอก แหล่งเรียนรู้การ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า
4.เพื่อให้ผู้เรียนบอก ทิศทางการประกอบ อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้าได้ด้วยกระบวนการคิดเป็น
|
1.ความสำคัญในการ ประกอบอาชีพ
2.ความเป็นไปได้ใน การประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า 3. แหล่งเรียนรู้การ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า
4.ทิศทางการ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า
|
1. ศึกษาข้อมูลจากแหล่ง เรียนรู้ภูมิปัญญาสื่อ อิเล็คทรอนิกส์เอกสาร สถานประกอบการ สถานที่ จัดจำหน่าย
2. วิทยากรสาธิตและให้ ความรู้การประกอบอาชีพ การเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม ความเป็นไปได้ในการ ประกอบอาชีพ แหล่งเรียนรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบ อาชีพการเพาะเห็ดฟาง เห็ด นางฟ้า-นางรม ทิศทางการประกอบอาชีพ การเพาะเห็ดฟาง เห็ด นางฟ้า-นางรม
3. สรุปความรู้ที่ได้จากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1
|
-
|
2.
|
ทักษะการ ประกอบอาชีพ
|
1. การเตรียมการ ประกอบอาชีพได้แก่ - สร้างโรงเรือน
- เตรียมวัสดุทำก้อน เห็ด
- เตรียมวัสดุเพาะเชื้อ เห็ด
- เพาะเชื้อเห็ด
|
1. ขั้นเตรียมการ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ด
1.1 สร้างโรงเรือน
1.2 เตรียมวัสดุทำก้อนเห็ด
1.3 เตรียมวัสดุเพาะเชื้อเห็ด
1.4 เพาะเชื้อเห็ด
|
1. ศึกษาข้อมูลเรียนรู้ ขอบข่ายการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเห็ด นางฟ้า-นางรม จากสื่อต่างๆ ทั้งเอกสาร สื่อบุคคล
สื่ออิเล็คทรอนิกส์ต่างๆ
2. ศึกษาแหล่งเรียนรู้ เกี่ยวกับอาชีพที่เลือกการ เพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
|
-
|
6
|
ที่
|
เรื่อง
|
จุดประสงค์การเรียนรู้
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
จำนวนชั่วโมง
|
ทฤษฏี
|
ปฏิบัติ
|
|
|
2. การเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
- แยกเชื้อเห็ดและการ เลี้ยงเนื้อเยื่อบนอาหาร วุ้น P.D.A
- ทำหัวเชื้อเห็ดนางฟ้า-นางรม
- ทำก้อนเชื้อบรรจุ ถุงพลาสติก
- เพาะเห็ดให้เกิดดอก
3. เก็บดอกและดูแล รักษาเห็ดนางฟ้า-นางรม เพื่อการบริโภคและจำหน่าย
|
2. ขั้นตอนการเพาะ เห็ดนางฟ้า-นางรม
2.1 การแยกเชื้อเห็ด และการเลี้ยงเนื้อเยื่อบน อาหารวุ้น
2.2 การำหัวเชื้อ เห็ดนางฟ้า-นางรม
2.3 การำก้อนเชื้อ บรรจุในถุงพลาสติก
2.4 การเพาะเห็ดให้เกิดดอก
3. ขั้นการเก็บดอกและ ดูแลรักษา เห็ด นางฟ้า-นางรม เพื่อการ บริโภคและจำหน่าย
|
3. ฝึกทักษะการประกอบ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับการ เพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
4. ดำเนินการเรียนรู้และฝึก ทักษะตามหลักสูตร เกี่ยวข้องกับการเพาะเห็ด นางฟ้า-นางรม
5. ซักถาม / แลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์
6. จดบันทึกผลการเรียนรู้
|
|
|
3.
|
การบริหาร จัดการในอาชีพ
|
1. สามารถวิเคราะห์ความต้องการของตลาดได้
2. สามารถคิด คำนวณ ต้นทุน ผลกำไร/ ขาดทุนได้
3. สามารถวาง แผนการจัดการ เกี่ยวกับผลผลิตได้
4. สามารถวิเคราะห์ และบอกวิธีแก้ปัญหาความเสี่ยงในการ ประกอบอาชีพได้
|
1. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
1.1 สามารถบริหาร จัดการในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ด นางฟ้า-นางรม
1.2 การจัดการเกี่ยวกับ การ ควบคุมคุณภาพการ เพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
นางรม
|
1. ศึกษาข้อมูลการตลาด และวิเคราะห์ความต้องการ ของตลาดในชุมชน ประเทศ และโลกจากสื่อต่างๆทั้ง เอกสาร สื่อบุคคล สื่อ อิเล็คทรอนิกส์ต่างๆและ แหล่งเรียนรู้
2. แบ่งกลุ่มศึกษาวิเคราะห์ และระดมความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยความเสี่ยงที่ คาดว่าจะเกิดขึ้น รวมทั้งหา แนวทางในการจัดการความเสี่ยง
|
2
|
-
|
ที่
|
เรื่อง
|
จุดประสงค์การเรียนรู้
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
จำนวนชั่วโมง
|
ทฤษฏี
|
ปฏิบัติ
|
|
|
|
1.3 การคิด
คำนวณต้นทุน การเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
1.4 การวางแผนการผลิต
2. การจัดการตลาดในการประกอบ อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
2.1 การจัดทำฐานข้อมูลลูกค้า
2.2 การกระจายผลผลิตเห็ดนางฟ้านางรม ไปสู่ผู้บริโภค
2.3 การวางแผนการตลาด
3. การจัดการความเสี่ยงที่จะเกิด ขึ้นกับการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
3.1 การวิเคราะห์ศักยภาพในการ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้านางรม
- ความต้องการของลูกค้า
- การขาดแคลนวัสดุการเพาะเห็ด นางฟ้า-นางรม
|
3. ฝึกปฏิบัติการคิดคำนวณ ต้นทุน-กำไร การ จัดทำบัญชีฟาร์ม การกำหนดราคา การส่งเสริม การขาย การกระจายสินค้า
4. ร่วมกัน อภิปราย / เสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในชั้นเรียน
|
|
|
ที่
|
เรื่อง
|
จุดประสงค์การเรียนรู้
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
จำนวนชั่วโมง
|
ทฤษฏี
|
ปฏิบัติ
|
|
|
|
- ค่าใช้จ่ายในการทำโรงเรือนและ การเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
- คู่แข่งทางการผลิตและจาหน่ายเห็ด นางฟ้า-นางรม
3.2 การแก้ปัญหาความเสี่ยงในการ ประกอบอาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า-นางรม
|
|
|
|
เข้าชม : 630 |