[x] ปิดหน้าต่างนี้
 

       

 

 

สกร.เพื่อคนพิการ อำเภอหาดสำราญ 

 

  

ความรู้เกี่ยวกับ IT
ความรู้เรื่องเด็กพิการ

พุธ ที่ 19 เดือน มีนาคม พ.ศ.2557

คะแนน vote : 116  

 เด็กพิการ 9 ประเภท 
 
 
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ 
 โดยสภาพทั่วไปในสังคมหากใครท าอะไร มีอะไร หรือปฏิบัติอะไรที่ไม่เหมือนกับสมาชิก
คนอื่น ๆ ในสังคม เรามักจะเรียกบุคคลเหล่านี้ว่าเป็นคนที่มีความต้องการพิเศษ ทั้งนี้เพราะสังคม
ยอมรับ และมีบรรทัดฐาน (norm) ที่เป็นตัวก าหนด หรือคาดการณ์ไว้ว่าทุกคนจะต้องท าอย่าง
นั้น อย่างนี้ และบรรทัดฐานนี้เองจึงเป็นมาตรฐานให้สมาชิกของสังคมท าตาม ปฏิบัติตาม จนถือ
เป็นระเบียบแบบแผนแห่งพฤติกรรม หรือการกระท าของคน ดังที่เราคงจะเคยได้ยิน ได้ฟังเพื่อน 
ๆ เรียกเราในบางครั้งว่าเป็นคนที่มีความต้องการพิเศษ เพราะเราท าอะไรได้บางอย่างไม่เหมือน
เพื่อนๆ ในกลุ่ม 
 ส าหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษนั้นเราก็อาศัยบรรทัดฐาน (norm) ที่มีการศึกษาค้นคว้า 
และบันทึกเอาไว้ว่า เมื่อเด็กเกิดมาแล้วจะต้องมีอะไร มีลักษณะอย่างไร และสามารถปฏิบัติ
อย่างไรได้เช่นเดียวกับคนอื่น ๆ ในสังคมบ้าง รวมไปถึงเรื่องของพัฒนาการหรือพฤติกรรมว่า
เหมือนกับที่มีการศึกษาค้นคว้าเอาไว้หรือไม่ หากเกิดมาและมีการเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานที่
ก าหนดไว้ เราก็มักจะมีเรียกตามลักษณะที่ขาดหายหรือตามที่บกพร่องไป เช่น เด็กตาบอด เด็ก
ปัญญาอ่อน เด็กแขนด้วน ขาด้วน เป็นต้น นั้นเป็นการเรียกกันตามสภาพที่เห็นว่าไม่เหมือนคน
ทั่วไป แต่ในทางวิชาการเรามักจะใช้การเรียกรวม ๆ ว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ดังนั้นหากจะ
จ ากัดความของค าว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษ จะพบว่ามีความหมายที่กว้างมาก ซึ่งองค์การ
อนามัยโลก (WHO) ได้พยายามที่จะจ ากัดความหรือให้ความหมายของค าว่า เด็กที่มีความ
ต้องการพิเศษ เพื่อให้เป็นแนวทางส าหรับการท าความเข้าใจว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษจะต้อง
อยู่ในขอบเขต 3 ประการคือ 
 1. ความบกพร่อง (Impairment) หมายถึงมีการสูญเสียหรือมีความผิดปกติของจิตใจ 
และสรีระหรือโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย  2. ไร้สมรรถภาพ (Disability) หมายถึงการมีข้อจ ากัดใด ๆ หรือการขาดความสามารถ
อันเป็นผล มาจากความบกพร่อง จนไม่สามารถกระท ากิจกรรมในลักษณะหรือภายใน
ขอบเขตที่ถือว่าปกติส าหรับมนุษย์ได้ 
 3. ความเสียเปรียบ (Handicap) หมายถึงการมีความจ ากัดหรืออุปสรรคกีดกั้นอัน
เนื่องมาจากความบกพร่อง และการไร้สมรรถภาพที่จ ากัดหรือขัดขวางจนท าให้บุคคลไม่สามารถ
บรรลุการกระท าตามบทบาทปกติของเขาได้ส าเร็จ 
 จากขอบเขตดังกล่าว ค าว่า “เด็กที่มีความต้องการพิเศษ” จึงหมายถึงเด็กที่ไม่อาจ
พัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการให้การช่วยเหลือ และการสอนตามปกติ ทั้งนี้มีสาเหตุ
จากสภาพความ 
บกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์ จ าเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ การบ าบัด 
ฟื้นฟูและให้การเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะ และความต้องการของเด็ก 
 ซึ่งค าว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษ มาจากค าภาษาอังกฤษว่า Children with special 
needs เป็นค าใหม่ และเพิ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในระยะไม่กี่ปีที่ผ่านมา 
 นอกจากนี้แล้ว ยังมีการให้ค านิยามเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ตามลักษณะของ
การจัดให้บริการ โดยแยกลักษณะการให้บริการได้ดังนี้ 
 1. ทางการแพทย์ มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษเหล่านี้ว่า เด็กพิการ ดังนั้นเด็กที่มี
ความต้องการพิเศษจึงหมายถึง ผู้ที่มีความผิดปกติ ผู้ที่มีความบกพร่อง หรือผู้ที่มีการสูญเสีย
สมรรถภาพ 
 อาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกาย หรือการสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทาง
จิตใจ เนื้อเยื่อหรือระบบเส้นประสาทก็ได้ ซึ่งความผิดปกติ ความบกพร่อง หรือการสูญเสีย
สมรรถภาพเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการด าเนินชีวิตของเขา ท าให้เขาไม่สามารถปฏิบัติภารกิจได้ดี
เท่ากับคนปกติ แต่หากมีการแก้ไขอวัยวะที่บกพร่องไปให้สามารถใช้งานได้ดังเดิมแล้ว สภาพความ
บกพร่องอาจหมดไป  2. ทางการศึกษา ให้ความหมายเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า หมายถึงเด็กที่มีความ
ต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจ าเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้าน
เนื้อหา หลักสูตร กระบวนการที่ใช้ และการประเมินผล 
ประเภทและลักษณะของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ 
 การจัดแบ่งประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ มักกระท าเพื่อเป็นการจัดให้สอดคล้อง
กับการจัดบริการ และให้การช่วยเหลือตามความเหมาะสม ซึ่งการจัดแบ่งประเภทจึงมีความ
แตกต่างกัน ดังนี้ 
 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้จัดแบ่งเด็กที่มีความต้องการพิเศษตามลักษณะไว้ดังนี้ 
 1. แบ่งตามความบกพร่อง (Classification of Impairment) ได้แก่ 
 1.1 บกพร่องทางสติปัญญาหรือความทรงจ า (Intelligence or Memory Impairment) 
ปัญญาอ่อน เสียความทรงจ า ลืมเหตุการณ์ที่ผ่านมาและปัจจุบัน 
 1.2 บกพร่องทางจิตอื่น ๆ (Other Psychological Impairment) บกพร่องทาง
สติสัมปชัญญะ หย่อนความส านึก บกพร่องทางความสนใจหรือการเข้าใจ นอนไม่หลับ 
 1.3 บกพร่องทางภาษาหรือการสื่อความหมาย (Language or Communication 
Impairment) พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด ไม่สามารถแสดงความเข้าใจ และแสดงการติดต่อกับคนอื่นได้ 
 1.4 บกพร่องทางการได้ยิน (Aural Impairment) หูตึง ได้ยินไม่ชัดเจนทั้งสองข้าง ได้ยิน
ข้างหนึ่งและหนวกอีกข้างหนึ่ง 
 1.5 บกพร่องทางการมองเห็น (Ocular Impairment) เห็นไม่ชัดเจนทั้งสองข้าง บอดข้าง
หนึ่งเห็นเลือนลางข้างหนึ่ง บอดทั้งสองข้าง 
 1.6 บกพร่องทางอวัยวะภายใน (Visceral Impairment) บกพร่องทางระบบหัวใจและ
การไหลเวียนของโลหิต บกพร่องทางระบบการย่อยอาหาร การขับถ่าย  1.7 บกพร่องทางโครงกระดูก (Skeletal Impairment) กระโหลกศีรษะ หัว ล าตัว แขน
ขาไม่เป็นปกติ 
 1.8 บกพร่องทางประสาทสัมผัส (Sensory Impairment) เสียความรู้สึกร้อน หนาว 
ความรู้สึกลดน้อยกว่าปกติ สูญเสียความรู้สึกสัมผัส เจ็บ 
 1.9 อื่น ๆ 
 2. แบ่งตามการไร้ความสามารถ (Classification of Disabilities) 
 2.1 ไร้ความสามารถทางอุปนิสัย (Behaviour Disabilities) ไม่สามารถบอกเวลา 
สถานที่ ไม่สามารถปกป้องคุ้มครองตนเอง เสียความสัมพันธ์กับครอบครัว 
 2.2 ไร้ความสามารถทางการสื่อความหมาย (Communication Disabilities) พูดได้แต่
ไม่เข้าใจ พูดไม่รู้เรื่อง พูดไม่ได้ เขียนหนังสือไม่ได้ อ่านไม่ได้ 
 2.3 ไร้ความสามารถทางการดูแลตนเอง (Personal Care Disabilities) ไม่สามารถท า
กิจวัตรประจ าวัน เช่น อาบน้ า เข้าส้วม แต่งตัว กินอาหารได้เอง 
 2.4 ไร้ความสามารถทางการเคลื่อนไหว (Locomotor Disabilities) เช่น เดิน วิ่ง ขึ้นลง
บันไดไม่ได้ตามปกติ 
 2.5 ไร้ความสามารถทางความคล่องแคล่วของอวัยวะ (Dexterity Disabilities) ไร้
ความสามารถในการท ากิจวัตรประจ าวัน ไม่สามารถใช้นิ้วมือก าของ ถือของ หรือไม่สามารถ
บังคับการใช้เท้า บังคับร่างกาย 
 2.6 ไร้ความสามารถทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Disabilities) ไม่สามารถทนต่อ
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ดิน ฟ้า อากาศ เสียงหรือบรรยากาศในการท างาน 
 2.7 ไร้ความสามารถในบางสถานการณ์ (Situational Disabilities) ช่วยตนเองไม่ได้ 
ต้องพึ่งผู้อื่น ไม่เป็นอิสระ  3. แบ่งตามการเสียเปรียบ (Classification of Handicap)
 3.1 เสียเปรียบทางความส านึก (Orientation Handicap) ไร้ความส านึกต่อสิ่งแวดล้อมไม่
สามารถเกี่ยวข้องกับผู้อื่น 
 3.2 เสียเปรียบทางกาย ไม่เป็นอิสระ ต้องพึ่งผู้อื่น (Physical Independence Handicap) 
โดยแบ่งตามความรุนแรงของความพิการ คือต้องพึ่งผู้อื่นทุก


เข้าชม : 2072


ความรู้เกี่ยวกับ IT 5 อันดับล่าสุด

      เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑความพิการ 19 / มี.ค. / 2557
      ความรู้เรื่องเด็กพิการ 19 / มี.ค. / 2557
      ข่าวไอที 25 / เม.ย. / 2554
      มันสามารถเขียนทับไฟล์ที่ลึกกว่า root ได้อีกด้วย 20 / เม.ย. / 2551
      แก้ปัญหา Windows XP บูตช้า 12 / ก.พ. / 2551




ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้ [กด F5 ถ้ารหัสไม่ชัดเจน]
ไอคอน : ย่อหน้า จัดซ้าย จัดกลาง จัดขวา ตัวหนา ตัวเอียง เส้นใต้ ตัวยก ตัวห้อย ตัวหนังสือเรืองแสง ตัวหนังสือมีเงา สีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน สีส้ม สีชมพู สีเทา
อ้างอิงคำพูด เพิ่มเพลง เพิ่มวีดีโอคลิป เพิ่มรูปภาพ เพิ่มไฟล์ Flash เพิ่มลิงก์ เพิ่มอีเมล์
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ mocyc@hotmail.com เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

 
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหาดสำราญ
ถนนบ้านนา-หาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง 92120 โทร 0 7520 8121 โทรสาร 0 7520 8174

vip_teenee@hotmail.com
Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05