[x] ปิดหน้าต่างนี้
 

       

 

 

สกร.เพื่อคนพิการ อำเภอหาดสำราญ 

 

  

บทความทั่วไป
ประเภทของคนพิการ

พุธ ที่ 2 เดือน เมษายน พ.ศ.2557

คะแนน vote : 154  

  ประเภทของคนพิการทางการศึกษา 2552 
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรื่อง กำหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ.2552 โดยข้อ ได้กำหนดประเภทของคนพิการไว้ประเภท ดังนี้ 
1.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น 
2.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน 
3.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา 
4.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ 
5.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ 
6.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา 
7.
บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ 
8.
บุคคลออทิสติก 
9.
บุคคลพิการซ้อน 
ประเภทของคนพิการ 
 
โดย พวงแกว กิจธรรม 
 คนสวนใหญมกรั ูจัก “ คนพการ ิ ” เฉพาะที่พบเห็นกันเจนตา ไดแก คนพิการดานรางกาย หรือ
การเคลื่อนไหว ( แขนดวน ขากุด เปนอมพาต ั ฯลฯ ) และคนตาบอด เปนตน แทที่จริงคนพการม ิ ี
หลากหลายประเภท 
ในพระราชบญญั ัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ไดใหนยาม ิ “ คนพิการ ” 
และ “ การฟนฟูสมรรถภาพ ” วา 
“ คนพิการ ” หมายความวา คนที่มีความผิดปกติหรือบกพรองทางรางกาย ทางสติปญญา 
หรือทางจิตใจ ตามประเภทและหลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง 
 “ การฟนฟสมรรถภาพ ู ” หมายความวา การเสริมสรางสมรรถภาพ หรือการเสริมสราง
ความสามารถของคนพิการใหมีสภาพดีขนโดยอาศ ึ้ ัยวิธีการทางการแพทย ทางการศกษา ึ ทางสังคม และ 
การฝกอาชีพ เพื่อใหคนพิการไดมีโอกาสทํางาน หรือดํารงชีวิตในสังคมทัดเทียมคนปกติ 
ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 ( พ.ศ. 2537 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟนฟู 
สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 มาตรา 4 และมาตรา 20 โดย รัฐมนตรีวาการกระทรวง 
สาธารณสุขไดกําหนดใหคนพิการมี 5 ประเภท โดยแตละประเภทมีลักษณะ ดังนี้ 
1) คนพิการทางการมองเห็นไดแก 
 (ก) คนที่มีสายตาขางที่ดีกวาเมื่อใชแวนสายตาธรรมดาแลวมองเห็นนอยกวา 6/18 
หรือ 20/70 ลงไปจนมองไมเห ็นแมแต แสงสว  าง หรือ 
 (ข) คนที่มีลานสายตาแคบกวา 30 องศา 
 2) คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย ไดแก 
(ก) คนที่ไดยนเส ิ ียงที่ความถี่ 500 เฮิรตซ 1000 เฮิรตซ หรือ 2000 เฮิรตซ ใน หู
ขางที่ดีกวาที่มความด ี ังเฉลี่ยดังตอไปน ี้
(1) สําหรับเด็กอายุไมเกนิ 7 ป เกิน 40 เดซิเบล ขึ้นไปจนไมไดยินเสียง 
(2) สําหรับคนทั่วไปเกิน 55 เดซิเบล ขึ้นไปจนไมไดยินเสยงี หรือ 
(ข) คนที่มีความผิดปกติหรือความบกพรองในการเขาใจหรือการใชภาษาพดู 
จนไมสามารถสื่อความหมายกับคนอื่นได 
 3) คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว ไดแก 
(ก) คนที่มีความผิดปกติหรือความบกพรองของรางกายที่เหนได ็ อยางชดเจน ั และ
ไมสามารถประกอบกจวิ ัตรหลักในชวีิตประจําวนได ั หรือ  2
(ข) คนที่มีการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวมือ แขน ขา หรือ ลําตัว 
อันเนื่องมาจากแขนหรือขาขาด อัมพาตหรือออนแรง โรคขอ หรืออาการ
ปวดเรื้อรัง รวมทั้งโรคเรื้อรังของระบบการทํางานของรางกายอื่น ๆ ที่ทําให
ไมสามารถประกอบกจวิ ัตรหลักในชวีิตประจําวนหร ั ือดารงช ํ ีวติในสังคม
เยี่ยงคนปกติได 
 4) คนพการทางจ ิ ิตใจหรือพฤติกรรม ไดแก คนทมี่ ีความผิดปกติหรือความ บกพรองทาง 
จิตใจ หรือสมองในสวนของการรับรู อารมณ ความคิด จนไมสามารถควบคุม
พฤติกรรมที่จําเปนในการดแลตนเองหร ู ืออยูรวมกับผูอนื่ 
 5) คนพการทางสต ิ ปิญญาหร  ือการเรียนรู ไดแก  คนที่มีความผิดปกติหรือความ บกพรองทาง 
 สติปญญาหรือสมองจนไมสามารถเรียนรูดวยว  ิธีการศึกษาปกตไดิ 
 อยางไรก็ตาม กระทรวงศึกษาธิการไดพิจารณาเห็นวา การจําแนกประเภทคนพิการตาม 
กฎกระทรวงของกระทรวงสาธารณสุขดังกลาวไมคอยจะสอดคลองก  ับการจัดการศกษาพ ึ ิเศษให คน
พิการตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล จึงไดจําแนกคนพิการตามความตองการ จําเปนทางการ
จัดการศึกษาเปน 9 ประเภท ดังนี้ 
1. บุคคลที่มีความบกพรองทางการเห็น หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็นตั้งแตระดับ
เล็กนอยจนถึงตาบอดสนิท อาจแบงได 2 ประเภท คือ 
 1.1 คนตาบอด หมายถึง คนที่สูญเสียการเหนมากจนต ็ องสอนใหอานอักษรเบรลล
หรือใชวิธีการฟงเทปหรือแผนเส  ียง หากตรวจวัดความชัดของสายตาขางดีเมื่อ 
แกไขแลวอย  ในระด ู ับ 6 สวน 60 หรือ 20 สวน 200 (20/200) ลงมาจนถึง
บอดสนิท (หมายถึง คนตาบอดสามารถมองเห็นวัตถุไดในระยะห  างนอยกว  า 6 
เมตร หรือ 20 ฟุต ในขณะที่คนปกตสามารถมองเห ิ ็นวัตถุเดียวกนได ั ในระยะ 
60 เมตร หรอื 200 ฟุต ) หรือมี ลานสายตาแคบกวา 20 องศา (หมายถึง 
สามารถมองเห็นไดกว างนอยกว  า 20 องศา) 
1.2 คนเห็นเลอนลาง ื หมายถึง คนที่สูญเสียการเห็น แตยังสามารถอานอักษร 
ตัวพิมพที่ขยายใหญได หรือตองใชแวนขยายอ  าน หากตรวจวดความช ั ัดของ
สายตาขางดีเมอแก ื่ ไขแลวอย  ในระด ู ับระหวาง 6 สวน 18 (6/18) หรือ 20 สวน 
70 (20/70) ถึง 6 สวน 60 (6/60) หรือ 20 สวน 200 (20/200) หรือมี ลาน
สายตาแคบกวา 30 องศา 
 
 
  3
2. บุคคลที่มีความบกพรองทางการไดยิน หมายถึง คนที่สูญเสียการไดยิน ตั้งแตระดับ
รุนแรงจนถึงระดับนอยอาจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 
2.1 คนหูหนวก หมายถึง คนที่สูญเสียการไดยินมากจนไมสามารถรับขอมูลผาน
ทางการไดยนิ ไมวาจะใสหรือไมใสเครื่องชวยฟงก็ตาม โดยทวไปหากตรวจการ ั่
ไดยินจะสูญเสยการได ี ยินประมาณ 90 เดซิเบลขึ้นไป (เดซิเบล เปนหน  วยว  ัด
ความดังของเสียง หมายถึง เมื่อเปรียบเทียบระดับเริ่มไดยินเสียงของเดกปกต ็ ิ เมื่อ
เสียงดังไมเกิน 25 เดซิเบล คนหูหนวกจะเริ่มไดยนเส ิ ียงดังมากกวา 90 เดซิ
เบล) 
2.2 คนหูตงึ หมายถึง คนที่มีการไดยินเหลืออยูพอเพยงท ี ี่จะรับขอมูลผานทางการได
ยิน โดยทวไปจะใส ั่ เครื่องชวยฟง และหากตรวจการไดยินจะพบวามีการสูญเสีย
การไดยนนิ อยกวา 90 เดซิเบล ลงมาจนถึง 26 เดซิเบล คือ เมื่อเปรียบเทียบระดับ
เริ่มไดยนเส ิ ียงของเด็กปกต ิเมื่อเสียงดังไมเก ิน 25 เดซิเบล เด็กหูตึงจะเริ่มไดยิน
เสียงที่ดังมากกวา 26 เดซิเบล ขึ้นไปจนถึง 90 เดซิเบล 
3. บุคคลที่มีความบกพรองทางสตปิญญา หมายถึงคนทมี่ ีพัฒนาการชากว  า คนปกติ
ทั่วไปเมื่อวัดสติปญญา โดยใชแบบทดสอบมาตรฐานแลว มีสติปญญาต่ํากวาบุคคล
ปกต ิ และความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่ํากวาเกณฑปกติอยางนอย 2 
ทักษะหรือมากกวา เชน ทกษะการส ั ื่อความหมาย ทกษะทางส ั ังคม ทักษะการใชสา
ธารณสมบัติ การดูแลตนเอง การดํารงชวีตในบ ิ าน การควบคุม ตนเอง สุขอนามยั
และความปลอดภัย การเรียนวิชาการเพื่อชีวิตประจําวัน การใชเวลาว  างและการ
ทํางาน ซึ่งลักษณะความบกพรองทางสติปญญา จะแสดงอาการกอนอายุ 18 ป 
4. บุคคลที่มีความบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ หมายถึง คนที่มีอวัยวะไม สมสวน 
อวัยวะสวนใดส  วนหนึ่งหรือหลายสวนขาดหายไป กระดกและกล ู ามเนื้อพการ ิ 
เจ็บปวยเรื้อรังรุนแรงมีความพิการระบบประสาท มีความลําบากในการ เคลื่อนไหว
ซึ่งเปนอุปสรรคตอการศึกษาในสภาพปกติ ทั้งนี้ไมรวมคนที่มีความ บกพรองทาง
ประสาทสัมผัส ไดแก ตาบอด หูหนวก อาจแบงไดเป น 4 ประเภท คือ 
4.1 โรคของระบบประสาท เชน ซีรีบรัล พัลซี (Cerebral Palsy) หรือโรค
อัมพาต เนื่องจากสมองพิการ โรคลมชัก มัลติเพิล สเคลอโรซีส (Mulitiple 
Sclerosis) 
4.2 โรคทางระบบกลามเนื้อและกระดูก เชน ขออักเสบ เทาปุก โรคกระดูกออน 
โรคอัมพาต กลามเนื้อลีบ หรือมัสคิวลาร ดิสโทรฟ (Muscular Dystrophy) 
กระดูกสนหล ั งคด ั  4
4.3 การไมสมประกอบมาแตกําเนิด เชน โรคศีรษะโต สไปนา เบฟฟดา (Spina 
Bifida) แขนขาดวนแตกําเนดิ เตี้ยแคระ 
4.4 สภาพความพการและความบกพร ิ องทางสุขภาพอนๆื่ ไดแก สภาพความ
พิการ อันเนื่องมาจากอุบัติเหตุและโรคตดติ อ เชน ไฟไหม แขนขาขาด 
โรคโปลิโอ โรคเยื่อบุสมองอักเสบจากเชอไวร ื้ ัส และอันตรายจากการคลอด 
ความบกพรองทางสุขภาพ เชน หอบ หืด โรคหัวใจ วัณโรคปอด ปอด
อักเสบ 
5. บุคคลที่มีปญหาทางการเรียนรู หมายถึง คนที่มีความบกพรองอยางใดอยางหนึ่ง หรือ
หลายอยางในกระบวนการพื้นฐานทางจตวิ ิทยาที่เกี่ยวกับความเขาใจหรือการใชภาษา 
อาจเปนภาษาพูดและ/หรือภาษาเขียน ซึ่งจะมีผลทําใหมีปญหาในการฟง การพูด การ
คิด การอาน การเขียน การสะกด หรือการคิดคํานวณ รวมทั้งสภาพความบกพรอง
ในการรับรู สมองไดรับบาดเจ็บ การปฏิบัติงานของสมองสูญเสียไป ซึ่งทําใหมี
ปญหาในการอาน และปญหาในการเข  าใจภาษา  ทั้งนี้ ไมรวมคนที่มีปญหาทางการ
เรียนเนื่องจากสภาพบกพรอง ทางการเหน็ การไดยนิ การเคลื่อนไหว ปญญาออน 
ปญหาทางอารมณ หรือความดอยโอกาสเนื่องจากสิ่งแวดลอม วัฒนธรรมหรือ
เศรษฐกิจ 
6. บุคคลที่มีความบกพรองทางการพูดและภาษา หมายถึง คนที่มีความบกพรองในเรองื่
ของการออกเสียงพูด เชน เสียงผิดปกติ อัตราความเร็วและจังหวะการพูด ผิดปกติ 
หรือคนที่มีความบกพรองในเรื่องความเขาใจและหรอการใช ื ภาษาพูด การเขียน และ
หรือระบบสัญลักษณอื่นทใชี่ ในการต  ิดตอสอสาร ื่ ซึ่งอาจเกี่ยวกับรปแบบของภาษา ู 
เนื้อหาของภาษาและหนาทของภาษา ี่ 
7. บุคคลที่มีปญหาทางพฤติกรรมหรืออารมณ หมายถึง คนที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไป
จากปกติเปนอย  างมาก และปญหาทางพฤติกรรมนั้นเปนไปอย  างตอเนื่อง ไมเปนที่
ยอมรับทางสังคมหรือวัฒนธรรม 
8. บุคคลออทิสตกิ หมายถึง บุคคลที่มีความบกพรองทางพัฒนาการดานสังคม ภาษา 
และการสื่อความหมาย พฤติกรรมอารมณ และจินตนาการ ซึ่งมสาเหต ี ุเนื่องมาจาก
การทํางานในหนาที่บางสวนของสมองที่ผิดปกติไป และความผิดปกตินี้พบไดกอนวัย 
30 เดือน และมีลักษณะที่สาคํ ัญ คือ มีความบกพรองทางปฏิสัมพันธทางสังคม การ
สื่อสาร พฤติกรรมและอารมณ การรับรูทางประสาท สัมผัสทั้งหา การใชอวัยวะตาง 
ๆ อยางประสานสัมพันธ การจินตนาการ และมีความสนใจที่สั้น เปนตน 
9. บุคคลพิการซอน หมายถงึ คนที่มีสภาพความบกพรองหรือความพิการมากวาหนึ่ง
ประเภทในบุคคลเดียวกัน เชน คนปญญาออนที่สูญเสียการไดยิน เปนตน 


เข้าชม : 1111


บทความทั่วไป 5 อันดับล่าสุด

      พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ 2 / เม.ย. / 2557
      ประเภทของคนพิการ 2 / เม.ย. / 2557
      ดอกแก้วกัลยา 27 / มี.ค. / 2557
      เลี้ยงไก่ไข่ด้วยอีแวป...ทำไบโอแก๊สลดค่าใช้จ่าย 3 / ธ.ค. / 2551
      ชื่อโครงการ 10 / ก.ค. / 2551


 
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหาดสำราญ
ถนนบ้านนา-หาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง 92120 โทร 0 7520 8121 โทรสาร 0 7520 8174

vip_teenee@hotmail.com
Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05