วิธีการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่คนพิการด้านร่างกาย
คนพิการด้านร่างกาย หรือการเคลื่อนไหวมีสภาพความบกพร่องทางร่างกายที่หลากหลาย
และบางคนมีความบกพร่องทางสตปิัญญา และการพูดร่วมด้วย คนพิการด้านร่างกายส่วนใหญ่จึงต้อง
ใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการตามความต้องการจ าเป็ นของคนพิการแต่ละคน เช่น เครื่องช่วยเดิน ไม้ค ้ายัน
ขาเทียม เก้าอี ้เข็น และรถโยก เป็ นต้น
ความต้องการจ าเป็ นของคนพิการด้านร่างกาย
โดยที่คนพิการด้านร่างกายส่วนใหญ่มีข้อจ ากัดในการเคลื่อนไหว เช่น การนั่ง การยืน การนอน และ
การเดิน เป็ นต้น จึงมีความต้องการจ าเป็ นที่ส าคัญ 9 ประการ ได้แก่
1. บริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ - โดยทั่วไป คนพิการด้านร่างกาย จ าเป็ นต้องได้รับการ
ฟื ้นฟูสมรรถภาพตั ้งแต่แรกเกิด หรือแรกพบความพิการ และต้องได้รับบริการฟื ้นฟูฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้
สามารถพัฒนาการเคลื่อนไหว เดินทาง หรือประกอบกิจกรรมต่างๆได้ด้วยตนเอง ได้แก่ บริการฝึ กการนั่ง ยืน
ทรงตัว เดิน ฝึ กการช่วยเหลือตนเองในการประกอบกิจวัตรประจ าวัน ( รับประทานอาหาร แปรงฟัน อาบน ้า
ขับถ่าย แต่งตัว ฯลฯ ) ฝึ กการใช้มือประสานกับสายตา ฝึ กการหยิบจับสิ่งของ และการสื่อสารหรือการพูด
รวมทั ้งการให้ค าปรึกษา และแนะแนวผู้ปกครองเกี่ยวกับการเลี ้ยงดูคนพิการด้านร่างกาย
2. บริการรักษาและพยาบาล - คนพิการด้านร่างกาย บางคนมีโรคประจ าตัว หรือโรคแทรกซ้อน
เช่น ชัก โรคหัวใจ โรคไต แผลกดทับ เป็ นต้น จึงจ าเป็ นต้องได้รับการรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
3. บริการพัฒนาทักษะการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และสิ่งอ านวยความสะดวก –
คนพิการด้านร่างกาย จ าเป็ นต้องได้รับการพัฒนาทักษะการใช้การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการและสิ่ง
อ านวยความสะดวก เพื่อให้สามารถเคลื่อนไหว ปฏิบัติกิจวัตรประจ าวัน พึ่งพาตนเอง และเดินทางได้อย่าง
เต็มศักยภาพของแต่ละคน ทั ้งนี ้ ครอบครัวของคนพิการด้านร่างกายจ าเป็ น ต้องร่วมเรียนรู้การใช้ทักษะ
ดังกล่าวด้วย เพื่อให้สามารถช่วยเหลือคนพิการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4. บริการด้านการศึกษา - คนพิการด้านร่างกายต้อง การการจัดการบริการจัดการศึกษา ที่
หลากหลาย ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับความต้องการจ าเป็ นของแต่ละ คน โดยอาจจัดการศึกษาทั ้งในระบบ
โรงเรียน นอกระบบ จัดในศูนย์การเรียน หรือจัดโดยครอบครัว รวมถึงให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการ
จัดการศึกษา ทั ้งนี ้ คนพิการด้านร่างกายสามารถเรียนร่วมในสถาน ศึกษาของคนปกติทั่วไปได้ เพียงแต่ต้องมี
บริการสิ่งอ านวยความสะดวก เช่น ทางลาด ลิฟต์ ห้องน ้าส าหรับคนพิการ และสื่อพิเศษ - เช่น หนังสือ
แผ่นกระดาษหนา สันหนังสือเป็ นกระดูกงู เครื่องเขียนที่มีขนาด น ้าหนัก และวัสดุห่อหุ้มซึ่งเด็กจับใช้ได้ถนัด
มือ อุปกรณ์การเรียนที่เป็ นแม่เหล็กซึ่งสามารถวางอยู่กับที่ได้ และอุปกรณ์ที่ดัดแปลงเพื่อช่วยคนพิการ
ทางร่างกาย ให้สามารถเรียน และใช้คอมพิวเตอร์ได้ เช่น แป้ นพิมพ์ที่เห็นได้บนจอภาพ เมาส์ที่มีลักษณะ
เป็ นลูกบอล การเลือกหรือใช้ค าสั่งโดยการสัมผัสหน้าจอ เป็ นต้น รวมทั ้ง การปรับวิธีการเรียนการสอนบางประการเพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพของคนพิการ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลและองค์กรเอกชนได้จัดตั้ง
โรงเรียนเฉพาะคนพิการด้านร่างกายด้วย เพื่อให้เด็กๆ พิการด้านร่างกายได้ฟื ้นฟูสมรรถภาพ พัฒนาทักษะ
การเรียนรู้ต่างๆ และเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการเรียนร่วม
5. บริการใช้เทคโนโลยีสิ่งอ านวยความสะดวก – ในปัจจุบันมีรูปแบบการใช้เทคโนโลยีสิ่ง
อ านวยความสะดวกที่หลากหลาย ดังนั ้น เพื่อให้คนพิการด้านร่างกายสามารถด ารงชีวิตได้อย่างเท่าเทียมกับ
คนทั่วไป จึงต้องมีบริการใช้เทคโนโลยีสิ่งอ านวยความสะดวก ต่างๆ เช่น เก้าอี ้เข็นไฟฟ้ า แขน ขา และมือ
เทียม อุปกรณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
6. บริการช่วยในการเดินทาง – โดยทั่วไป เมื่อได้รับการฟื ้นฟูสมรรถภาพอย่างเหมาะสม ซึ่ง
รวมถึงการพัฒนาทักษะการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และเทคโนโลยีสิ่งอ านวยความสะดวกต่างๆ คน
พิการด้านร่างกายจะสามารถเดินทางด้วยตนเองได้ ยกเว้นคนพิการระดับรุนแรง และในบางสถานการณ์ที่
ยากล าบาก คนพิการด้านร่างกายต้องการคนช่วยเพื่อให้สามารถเดินทางถึงที่หมายได้อย่างรวดเร็ว และ
ปลอดภัย เช่น ช่วยยกตัวเพื่อขึ ้น – ลงรถ ช่วยเข็นเก้าอี ้เข็น ช่วยพยุงตัว และช่วยเคลื่อยย้ายสิ่งกีดขวางทางเดิน
เป็ นต้น
7. บริการด้านสังคม - คนพิการด้านร่างกาย ต้องการโอกาสร่วมกิจกรรมต่างๆกับคนทั่วไป
อย่างสม ่าเสมอ เพื่อพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหว การเดินทาง การสื่อสาร การสร้างเสริมมนุษยสัมพันธ์ และ
การอยู่ร่วมกับคนทั่วไปในสังคม ทั ้งนี ้ คนพิการด้านร่างกายส่วนใหญ่สามารถสื่อสารกับ คนทั่วไปได้เป็ น
อย่างดีด้วยการพูดคุย แต่คนพิการบางคนที่มีความบกพร่องของสมองอาจจะพูดไม่ได้ พูดได้น้อย พูดช้า หรือ
พูดไม่ชัด ทั ้งที่สามารถได้ยินเสียงพูดเป็ นปกติ
8. บริการด้านอาชีพ – คนพิการด้านร่างกายสามารถประกอบอาชีพได้เช่นเดียวกับคนทั่วไป
แต่ คนพิการด้านร่างกายต้องการบริการฝึ กอาชีพที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และศักยภาพของแต่
ละคน โดยมีครูที่สามารถจัดสิ่งอ านวยความสะดวกพร้อมทั ้งปรับวิธีการเรียนการสอนบางประการ ให้
สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน
9. บริการดูแล - คนพิการด้านร่างกาย ส่วนใหญ่สามารถด ารงชีวิตในสังคมได้เป็ นอย่างดี แต่
จ าเป็ นต้องได้รับการช่วยดูแลในบางเรื่อง เช่น
9.1 การช่วยดูแลจัดสภาพแวดล้อม – เพื่อให้คนพิการด้านร่างกายสามารถเดินทางได้
โดยสะดวก ควร จัดสภาพแวดล้อม ให้ปราศจาก สิ่งกีดขวาง หรือสิ่งที่อาจก่อให้เกิด
อุบัติเหตุหรืออันตรายได้ จัดให้มีทางลาดส าหรับขึ ้น - ลงพื ้นต่างระดับ มีห้องน ้าที่คนใช้
เก้าอี ้เข็นสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ เช่น ประตูกว้าง เปิ ด-ปิ ดง่าย เป็ นโถนั่งยอง
มีราวจับ เป็ นต้น
9.2 การช่วยดูแลความปลอดภัย- ระหว่างเดินทางคนพิการด้านร่างกายอาจไม่สะดวกใน
การระมัดระวังสิ่งที่เป็ นอันตราย โดยเฉพาะขณะข้ามถนน ดังนั ้นจึงควรได้รับการดูแล
ความปลอดภัย หรือเตือนภัย
วิธีการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่คนพิการด้านร่างกาย
1. ปฏิบัติกับคนพิการด้านร่างกาย เหมือนปฏิบัติกับคนทั่วไปในสังคม โดยเคารพในศกัดศิ์ รี
ของความเป็ นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกับคนทั่วไป
2. มีเจตคติเชิงสร้างสรรค์ต่อคนพิการด้านร่างกาย โดยไม่มองว่าเป็ น คนไร้ค่า หรือไร้ความ
สามารถ รวมทั ้ง ไม่แสดง ท่าทางรังเกียจ หรือหัวเราะเยาะ ทั ้งนี ้ ต้องยอมรับในศักยภาพของแต่
ละคนซึ่งไม่เท่ากัน
3. ให้โอกาสคนพิการด้านร่างกายในการเข้าสังคมและเรียนรู้สิ่งต่างๆ
4. ถามคนพิการด้านร่างกายหรือผู้ดูแลก่อนเสมอว่าต้องการให้ช่วยหรือไม่ ช่วยอะไร และช่วยอย่างไร
แล้วจึงช่วยเหลือตามที่คนพิการด้านร่างกายต้องการ
5. ถ้าต้องการทราบเรื่องราวหรือความต้องการใดๆ ของคนพิการด้านร่างกาย ให้ถามคนพิการด้าน
ร่างกายเอง ไม่ควรถามผู้ดูแลคนพิการ
1. ห้ามเคลื่อนย้ายสิ่งของของคนพิการด้านร่างกาย โดยเฉพาะอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ
เช่น เครื่องช่วยเดิน ไม้ค ายัน ไม้เท้า เก้าอี ้เข็น เป็ นต้น ไปวางในที่ห่างไกลคนพิการด้านร่างกาย
โดยที่คนพิการด้านร่างกายไม่ได้บอก เพราะจะท าให้คนพิการด้านร่างกายไม่สามารถน ามาใช้ได้
ก่อนจะเคลื่อนย้ายของสิ่งใดของคนพิการด้านร่างกาย ต้องถามคนพิการด้านร่างกายเสมอว่าจะ
ให้วางที่ใด
2. ช่วยคนพิการด้านร่างกายในการเคลื่อนไหวและเดินทาง ในสถานการณ์ต่างๆ ดังนี ้
7.1 วิธีใช้และเก็บเก้าอี้เข็น – เก้าอี ้เข็นส่วนใหญ่พับที่รองนั่งเข้าหากันได้ ฉะนั ้น เมื่อจะใช้
ให้กางที่รองนั่ง พร้อมทั ้งดึงที่วางแขนหรือด้านข้างทั ้ง 2 ด้านของเก้าอี ้เข็น เพื่อให้ที่รอง
7.2 นั่งกางออกและพร้อมที่จะนั่งได้ เมื่อต้องการเก็บ ให้ดึงตรงกลางที่รองนั่งให้พับขึ ้น พร้อม
กับดึงด้านข้างของเก้าอี ้มาชิดกัน
7.3 วิธีล็อกล้อเก้าอี้เข็น – เมื่อคนพิการนั่งเก้าอี ้เข็นหยุดการเดินทางหรือไม่ต้องการ
เดินทางต่อ ควรช่วยล็อกล้อของเก้าอี ้เข็น โดยปรับที่ล็อกซึ่งอยู่ใกล้กับล้อทั ้ง 2 ข้าง
7.4 วิธีเข็นเก้าอี้เข็น – ให้จับที่คันจับ หรือมือจับของเก้าอี ้เข็นทั ้ง 2 ข้าง ซึ่งอยู่ทางด้านบน
ของพนักเก้าอี ้ด้านหลังของคนพิการ และเข็นไปข้างหน้าอย่างมั่นคง และสม ่าเสมอ ไม่เร็ว
หรือช้าเกินไป พร้อมทั ้งใช้เทคนิคการเข็นในที่ต่างๆ ดังนี ้
การเข็นลงทางลาด - ถ้าคนพิการไม่แข็งแรงหรือไม่สามารถพยุงตัวให้
มั่นคงได้ ควรเข็นโดยวิธีให้คนเข็นเดินหันหลังลงทางลาด และดึงเก้าอี ้เข็นตามลงมา
เพื่อป้ องกันไม่ให้คนพิการหล่นจากเก้าอี ้ โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีสายรัดตัวให้ติดกับ
เก้าอี ้ ถ้าเดินหันหน้าลง ให้ใช้มือหนึ่งประคองหน้าอกคนพิการไว้ เพื่อไม่ให้ล้ม
การเข็นในที่ขรุขระ – ใช้วิธียกล้อหน้าขึ ้น ด้วยการเหยียบแท่งเหล็กใต้
เก้าอี ้ด้านหลัง พร้อมๆ กับการยกล้อหน้าขึ ้นและเข็นไปตลอดทางขรุขระ
การเข็นขึ้นทางเท้าหรือทางต่างระดับ - ใช้วิธียกล้อหน้าขึ ้นไปก่อนด้วย
การเหยียบแท่งเหล็กใต้เก้าอี ้ด้านหลัง แล้วยกล้อหลังตามขึ ้นไป
การเข็นลงทางเท้าหรือทางต่างระดับ – ใช้วิธีให้คนเข็นเดินหันหลังลงจาก
ทางต่างระดับพร้อมกับดึงล้อหลังลงก่อน แล้วจึงดึงล้อหน้าตามลงมา
7.5 วิธียกเก้าอี้เข็น - ในกรณีที่ต้องยกเก้าอี ้เข็นขึ ้น – ลงบันไดหรือข้ามสิ่งกีดขวาง ควรใช้
คน 2 – 4 คน ต้องยกเก้าอี ้เข็นตามวิธีที่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการแนะน า โดยทั่วไป ใช้
วิธีจับที่ด้านข้างของเก้าอี ้เข็นข้างละ 1 คน และจับที่มือจับของเก้าอี ้เข็นทางด้านหลังของ
เก้าอี ้อีก 1 คน ยกเว้น ในกรณีคนพิการมีน ้าหนักไม่มาก อาจใช้คนเพียง 2 คน โดยยก
เก้าอี ้เข็นที่ด้านหน้า และด้านหลัง ด้านละ 1 คน
7.6 วิธีเคลื่อนย้ายคนพิการ เช่น เคลื่อนจากเก้าอี ้เข็นไปนั่งรถ หรือเคลื่อนจากเก้าอี ้เข็นไป
ที่เตียง ต้องยกคนพิการและเคลื่อนย้ายตามวิธีที่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการแนะน า
เท่านั ้น การเคลื่อนคนพิการอย่างไม่ถูกต้อง อาจท าให้เกิดอันตรายได้
7.7 วิธีช่วยคนพิการใช้ไม้ค ้ายัน – โดยทั่วไป คนพิการที่ใช้ไม้ค ้ายันหรือไม้เท้าสามารถเดิน
ได้ด้วยตนเอง ยกเว้น ถ้าทางเดินขรุขระหรือลื่น อาสาสมัครควรเดินตามหลังใกล้ๆ
คนพิการ คอยเฝ้ าระวัง และเข้าช่วยทันทีหากคนพิการเดินไม่มั่นคง นอกจากนั ้น ขณะขึ ้น
บันได คนพิการบางคนสะดวกในการจับราวบันไดเดินขึ ้นไป ฉะนั ้น อาสาสมัครควรรับไม้
ค ้ายันหรือไม้เท้ามาถือ และเดินตามไปส่งไม้เท้าหรือไม้ค ้ายันให้เมื่อคนพิการขึ ้นบันได
เรียบร้อยแล้ว
8. ช่วยคนพิการด้านร่างกายระหว่างรับประทานอาหาร – ควรปฏิบัติ ดังนี ้
8.1 ถ้าคนพิการมองไม่เห็นอาหาร ให้บอกคนพิการว่ามีอาหารอะไรบ้าง
8.2 ในกรณีที่คนพิการไม่สามารถตักด้วยตนเองได้ ให้ช่วยยกจานอาหารให้คนพิการตัก หรือ
ตักอาหารให้คนพิการ
8.3 ส าหรับคนพิการระดับรุนแรงบางคน อาจไม่สะดวกที่จะตัดหรือแบ่งอาหารเป็ นชิ ้นเล็กๆ
อาสาสมัครควรช่วยท าให้
8.4 ส าหรับคนพิการระดับรุนแรงบางคน อาจไม่สะดวกที่จะตักอาหารใส่ปาก อาสาสมัคร
ควรช่วยป้ อนอาหารให้ ทั ้งนี ้ ต้องใช้วิธีตามที่คนพิการหรือผู้คุ้นเคยกับคนพิการแนะน า
9. ช่วยเหลือคนพกิารด้านร่างกายให้สามารถเข้าถงึ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร ได้
อย่างเท่าเทียมกับคนทั่วไปได้ เช่น ช่วยอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ หรือข้อมูลต่างๆ ให้
คนพิการด้านร่างกายฟัง จัดป้ ายประกาศต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่คนพิการนั่งเก้าอี ้เข็นอ่านได้
ชัดเจน เป็ นต้น
10. ช่วยพูดคุยกับคนพกิารด้านร่างกายด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม ในกรณีที่คนพิการมีปัญหาในการ
พูด เช่น ศีรษะเอียง ปากบิดเบี ้ยว พูดล าบาก พูดช้า พูดไม่ชัด อาสาสมัครควรปฏิบัติดังนี ้
10.1 ยืนตรงหน้าของคนพิการด้านร่างกายทุกครั ้งก่อนทักทาย หรือพูดคุย
10.2 พูดทักทายหรือสนทนากับคนพิการด้านร่างกายด้วยภาษาธรรมดาและน ้าเสียงปกติ
10.3 พยายามเข้าใจสิ่งที่คนพิการพูด และฟังจนคนพิการพูดจบ ไม่ควรแย่งพูด พูดแซง หรือ
ต่อประโยคของคนพิการ
11. ช่วยอุดหนุน ผลิตภัณฑ์และบริการ ของคนพิการด้านร่างกาย หรือช่วยรับคนพิการด้าน
ร่างกายเข้าท างาน
12. ช่วยส่งเสริมการปรับสภาพแวดล้อมให้คนพิการด้านร่างกายสามารถเข้าถึงและใช้
ประโยชน์ได้ โดยมีสิ่งอ านวยความสะดวกที่เหมาะสมในสภาพแวดล้อมต่างๆ เช่น ทางลาด
ห้องน ้า ลิฟต์ รถเมล์ รถไฟ รถทัวร์ รถไฟฟ้ า รถแท็กซี่ เป็ นต้น
13. ช่วยเหลืออื่นๆ ตามที่คนพิการด้านร่างกายหรือผู้ดูแลคนพิการด้านร่างกายขอให้ช่วย
เข้าชม : 1718
|