|
|
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ความบกพร่องทางการพูด หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดจากการพูดในด้านของความชัดเจนในการเปล่งเสียงและการใช้เสียงไม่สามารถ ทำให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ความบกพร่องทางภาษา หมายถึง ความบกพร่องในการรับรู้หรือการแปลความหมายของการพูด |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
พัฒนาการทางภาษา คือ การที่เด็กสามารถพูดได้ต้องการเกิดจากการเรียนรู้ ความเข้าใจภาษาที่ผู้อื่นพูด การเรียนรู้คำศัพท์ การสร้าง ประโยค การออกเสียง
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
พัฒนาการทางการพูด คือ ขบวนการพัฒนาเสียงพูดจากเสียงที่ไม่มีความหมายไม่ชัดเจนเป็นเสียงที่ชัดเจน และแบ่งเป็นคำที่มีความหมายเป็นขั้น
|
|
|
|
|
1. ขั้นส่งเสียงร้อง |
|
|
|
|
2. ขั้นส่งเสียงอ้อแอ้ |
|
|
|
|
3. ขั้นเลียนเสียงตนเอง |
|
|
|
|
4. ขั้นเลียนเสียงผู้อื่น |
|
|
|
|
5. ขั้นคำพูด |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สาเหตุของพัฒนาการทางภาษาและการพูดผิดปกติ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1. ประสาทหูพิการทั้งสองข้าง |
|
|
|
|
2. สติปัญญาต่ำ |
|
|
|
|
3. สภาวะอารมณ์และจิตใจผิดปกติ |
|
|
|
|
4. สมองผิดปกติ |
|
|
|
|
5. ขาดการกระตุ้นทางภาษาและการพูดที่เหมาะสม |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ประเภทความผิดปกติทางการพูด |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1. การพูดช้า |
|
|
|
|
2. การพูดไม่ชัด |
|
|
|
|
3. ปากแหว่งเพดานโหว่ |
|
|
|
|
4. พูดติดอ่าง |
|
|
|
|
5. เสียงผิดปกติ |
|
|
|
|
6. อะฟาเซีย |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สาเหตุของความผิดปกติทางภาษา |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1. ระบบประสาทส่วนกลาง ความผิดปกติทางภาษา สติปัญญาต่ำ การบาดเจ็บทางสมอง |
|
|
|
|
2. สาเหตุภายนอก ความบกพร่องทางการได้ยิน ทางการมองเห็น ทางร่างกาย |
|
|
|
|
3. สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมและอารมณ์ การถูกทอดทิ้ง ถูกทำร้าย ปัญหาจากการพัฒนาการทางพฤติกรรมและอารมณ์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ประเภทความผิดปกติทางภาษา |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1. ไม่มีภาษาพูด |
|
|
|
|
2. ความแตกต่างในคุณภาพของภาษา |
|
|
|
|
3. การเริ่มภาษาช้า |
|
|
|
|
4. การหยุดชะงักของภาษา |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การแก้ไขเบื้องต้นสำหรับเด็กที่มีความผิดปกติทางการพูด |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1. การยอมรับ |
|
|
|
|
2. การวิเคราะห์ปัญหา |
|
|
|
|
3. การแก้ไขเสียงที่เป็นปัญหา |
|
|
|
|
4. การฝึก |
|
|
|
|
credit :>>> http://school.obec.go.th/psecchanthaburi/mr/6.php |